การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในจีน

พุทธศาสนาในปัจจุบัน

ในปัจจุบันได้มีการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาลัทธิมหายานขึ้นใหม่ ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน นอกจากนี้รัฐบาลจีนยังให้การสนับสนุนจัดตั้งพุทธสมาคมแห่งประเทศจีน และสภาการศึกษาพระพุทธศาสนาแห่งประเทศจีนขึ้นในกรุงปักกิ่งอีกด้วย เพื่อเป็นศูนย์กลางการติดต่อเผยแผ่พระพุทธศาสนากับประเทศต่างๆ ทั่วโลก ปัจจุบันนี้ชาวจีนส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาคู่ไปกับลัทธิขงจื๊อ ห้าทหารเสือแห่งจ๊กก๊ก และลัทธิเต๋า ซึ่งปัจจุบันมีผู้นับถือถึง 30%


พุทธศาสนาเถรวาทในจีน

ในประเทศจีน มีผู้นับถือพุทธศาสนาแบบเถรวาทเฉพาะในมณฑลยูนนาน ซึ่งโดยทั่วไปเป็นชนกลุ่มน้อยชาวไทลื้อและชาวไทใหญ่


พุทธศาสนาในสิบสองปันนา

พุทธศาสนาในสิบสองปันนาเป็นพุทธศาสนาเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ โดยได้รับอิทธิพลจากอาณาจักรล้านนาหรือเชียงใหม่ในปัจจุบัน แบ่งเป็น 2 นิกายเช่นเดียวกับพุทธศาสนาในเชียงใหม่คือ


สำนักวัดสวนดอกหรือฝ่ายสวน ตั้งที่เชียงใหม่เมื่อ พ.ศ. 1914 แต่เข้าสู่สิบสองปันนาเมื่อใดไม่มีหลักฐาน


สำนักวัดป่าแดงหรือฝ่ายป่า ตั้งขึ้นที่เชียงใหม่เมื่อราว พ.ศ. 1973 โดยคณะสงฆ์ที่ไปบวชเรียนมาใหม่จากประเทศศรีลังกา ถือวินัยเคร่งครัดกว่าฝ่ายสวน เผยแพร่เข้าสู่สิบสองปันนาเมื่อ พ.ศ. 1989 โดยผ่านทางเชียงตุง


โรงเรียนหนองไผ่
700 หมู่ 6 ต.หนองไผ่
อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์
ผู้จัดทำ
1.เด็กชายเกริกพันธ์ มาทา เลขที่2
2.เด็กชายธนภัทร กินูน เลขที่3
3.เด็กชายเกียรติศักดิ์ แนวบุตร เลขที่5
4.เด็กชายวรกันต์ แก่นไทย เลขที่9
5.เด็กชายอาทิตย์ ลาสร้อย เลขที่11
6.เด็กชายกรนิศ จอมเพ็ง เลขที่12
7.เด็กหญิงชาคริยา ยอดดี เลขที่20
8.เด็กหญิงรัตนาภรณ์ แก้วศรี เลขที่27
9.เด็กหญิงนภสร ขันทอง เลขที่34
10.เด็กหญิงปรียานุช บุญลือ เลขที่35
11.เด็กหญิงสุดารัตน์ สิงห์สัตย์ เลขที่42