พระพุทธศาสนาในประเทศเยอรมนี
ชาวเยอรมันให้ควาสนใจในพระพุทธศาสนามาตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่2 แต่มีจำนวนไม่มากนักโดยนักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนากลุ่มแรก นำโดย ดร.คาร์ล ไซเดนสติคเกอร์ นักปราชญ์ชาวเยอรมันได้ก่อตั้งสมาคมเพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนาขึ้นที่เมืองไลพ์ซิก ในประเทศเยอรมนี เมื่อ พ.ศ.2446 และส่งเสริมให้มีการจัดการศึกษาวิชาพระพุทธศาสนาต่อมามีการจัดพิมพ์หนังสือ วารสารและจุลสารด้านพระพุทธศาสนาออกเผยแพร่ หนังสือที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือ พระพุทธวจนะ โดยพระภิกษุชาวเยอรมัน มีฉายาว่าพระญาณดิลก ได้แปลและเรียบเรียงจากภาษาบาลีเป็นภาษาเยอรมัน ต่อมาได้มีการแปลเป็นภาษาอื่นๆ กว่า10ภาษารวมทั้งไทยด้วย นอกจากนี้ยังมีการจัดปาฐกถาธรรมและสนทนาธรรมเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาเป๋นประจำ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่2 พระพุทธศาสนาในเยอรมีซบเซามาก เพราะพรรคสังคมนิยมแห่งชาติไม่ต้องการให้มีการดำเนินของศาสนาใดๆ ทั้งนั้น หลักจากสงครามโลกครั้งที่2 สงบลงชาวเยอรมันหันมาพึ่งหลักธรรมทางศาสนา เริ่มบูรณะวัดอาราม ความสนใจพระพุทธศานามีมากขึ้น ใน พ.ศ.2491 สมาคมมหาโพธิในศรีลังกาได้รับพุทสมาคมที่เมืองมองมิวนิกเป็นสาขาทำให้พุทธสมาคมอื่นๆ ในเยอรมนีมีการประสานงานกับศรีลังกามากขึ้น

700 หมู่ 6 ต.หนองไผ่
อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์
ผู้จัดทำ
1.)เด็กชายจุลภัทร ดวงศรี ชั้นม.3/3 เลขที่8
2.)เด็กชายเอกลักษณ์ บุญศิริ ชั้นม.3/3 เลขที่9
3.)เด็กชายณกฤช ศรีโครต ชั้นม.3/3 เลขที่11
4.)เด็กหญิงศิริญญาภรณ์ มีมุข ชั้นม.3/3 เลขที่21
5.)เด็กหญิงจิราภัทร บัวทอง ชั้นม.3/3 เลขที่23
6.)เด็กหญิงนพวรรณ เชื้อบุญมี ชั้นม.3/3 เลขที่24
7.)เด็กหญิงชมพูนุช เหลาอ่อน ชั้นม.3/3 เลขที่25
8.)เด็กหญิงเบญจมาศ เนตรขำ ชั้นม.3/3 เลขที่28
9.)เด็กหญิงผามิตา บริสุทธิ์ ชั้นม.3/3 เลขที่33
10.)เด็กหญิงภาวินี ประเสริฐสิน ชั้นม.3/3 เลขที่35
11.)เด็กหญิงจันทิมา ผลทิม ชั้นม.3/3 เลขที่38