พุทธศาสนาหลังสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศญี่ปุ่น

IND

หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เปลี่ยนผ่านจากยุคเมจิเข้าสู่ยุคโชวะ มีนักการศึกษามากมายพยายามเชื่อมประสานพระพุทธศาสนานิกายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยจัดตั้งเป็นองค์การขึ้น องค์การสื่อสารสัมพันธ์ระหว่างชาวพุทธที่ใหม่ที่สุด คือ พุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งญี่ปุ่น (Japan Buddhist Federation) มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมเสริมความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดระหว่างนิกายและชาวพุทธในญี่ปุ่น วางแผนผนึกกำลังชาวพุทธในการดำเนินการเพื่อความก้าวหน้าและเสริมสร้างสันติสุขแก่ชาวโลก ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2500 มีสำนักงานอยู่ที่วัดชุกิจิ ฮองวันจิ ในนครโตเกียว กิจการทางพุทธศาสนาที่สำคัญและมีจุดเด่นก้าวหน้าที่สุดของญี่ปุ่น คือ การจัดการศึกษา พระพุทธศาสนานิกายต่าง ๆ จะมีมหาวิทยาลัย วิทยาลัย โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาและระดับประถมศึกษาเป็นจำนวนมาก


จากนโยบายเดิมที่มีใช้กันในประเทศโดยรวมทั้งปรับตัวเพื่อความอยู่รอดจนคุ้นชินผู้คนส่วนหนึ่งไม่เห็นแปลกอย่างไร ต่อ ๆ มา นักบวชในศาสนาพุทธในญี่ปุ่นนิกายต่าง ๆ ส่วนใหญ่จึงมีครอบครัวภรรยาและบุตรสืบกันมา อีกเช่นเคยไม่ว่าที่ไหนหมู่คณะใดก็ย่อมมีที่ยกเว้นและต่างไปจากชนเหล่านั้น นักบวชที่เป็นพระระดับเจ้าอาวาสบางรูปและพระสงฆ์นักบวชที่ตั้งใจเคร่งเอาจริงเอาจังเอาพ้นทุกข์ก็ได้ยึดเอาพระธรรมวินัยเป็นหลักที่ตั้งประเภทที่ ยอมตายดีกว่าล้มเลิก จึงได้ทางหลุดรอดจากค่านิยมคำบีบบังคับตนที่ว่าที่เป็นความจำเป็นไปได้และปลีกวิเวกไปปฏิบัติอยู่อย่างสงบ ตำแหน่งพระนักบวชในศาสนาพุทธของทางญี่ปุ่นยังสืบทอดเป็นมรดกแก่บุตรคนโตที่ส่งต่อตำแหน่งกันในครอบครัวได้ด้วย นักบวชในศาสนาพุทธในญี่ปุ่นจัดเป็นอาชีพหนึ่ง เรียกว่า อาชีพพระ


nongphai

โรงเรียนหนองไผ่ สพม.40

700 หมู่ 6 ต.หนองไผ่

อ.หนองไผ่ จ.เพรบูรณ์

สมาชิกในกลุ่ม

1.นาย พิษณุ น่าชม ม.3/1 เลชที่2

2.ด.ช.พงศ์พล กันแพงศรี ม.3/1 เลชที่3

3.ด.ช.จิรวัฒน์ เจนจบธรรม ม.3/1 เลชที่7




4.นาย พันธกานต์ กันยาประสิทธิ์ ม.3/1 เลขที่17

5.นางสาว สุวรรณา อู่ประเสริฐ ม.3/1 เลขที่35