2.พระพุทธศาสนาในประเทศเยอรมนี ชาวเยอรมันให้ความสนใจพระพุทธศาสนามาตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่2 นำโดย ดร.คาร์ล ไซเดนสติคเกอร์ ได้ก่อตั้งสมาคมเผยแพร่พระพุทธศาสนาขึ้นที่เมืองไลพ์ซิก เมื่อ พ.ศ.2446 มีการจัดการศึกษาวิชาพระพุทธศาสนา ต่อมามีการจัดพิมพ์หนังสือออกเผยแพร่ หนังสือที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือ พระพุทธวจนะ พระภิกษุชาวเยอรมันมีฉายาว่าพระญาณดิลก แปลเรียงจากภาษาบาลีเป็นเยอรมันอื่นๆกว่าภาษารวมทั้งภาษาไทยระหว่างสงครามโลกครั้งที่2 พระพุทธศาสนาในเยอรมันซบเซามากไม่ต้องการให้มีการดำเนินการของศาสนาใดๆ ชาวเยอรมันหันมาพึ่งทางศาสนา ใน พ.ศ.2491 สมาคมโพธิในศรีลังกาได้รับพุทธสมาคม ทำให้พุทธสมาคมอื่นๆ ในเยอรมันมีการประสานงานกับศรีลังกามากขึ้น การนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศเยอรมนี ปัจจุบันประเทศเยอรมนีมีผู้นับถือพระพุทธศาสนาเพิ่มมากขึ้น ส่วนใหญ่เป็นพวกอาศัยในเมืองสำคัญ นอกจากนี้มีการแปลพระไตรปิฎกเป็นภาษาเยอรมัน รวมถึงมีการสร้างศาสนสถานเพื่อประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา

โรงเรียนหนองไผ่
700 หมู่ 6 ต.หนองไผ่
อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์
ผู้จัดทำ
1.อรทัย ไพเราะ เลขที่29
2.กุลธิดา ดีน้อย เลขที่31
3.นวพร ศรีวสุธนา เลขที่32
4.จุฬาลักษณ์ แสงดาว เลขที่33
5.กาญจนา ทาทองคำ เลขที่ 34

6.เบญจรัตน์ สุทธิเมฆ เลขที่36
7.นัฐธิดา นวลนิล เลขที่37
8.วราพร นาคทรพย์ เลขที่38
9.ชุตินันท์ พร้อมสุข เลขที่39
10.โชติรส มั่นเหมาะ เลขที่40