การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทิเบต

พระพุทธศาสนาได้เข้ามาเผยแผ่ยังทิเบต

ใน พ.ศ. 976 สมัยพระเจ้าลาโธ โธรีเย็นเซ (กษัตริย์ทิเบตองค์แรก) ตัวแทนชาวอินเดียได้นำ คัมภีร์พระพุทธศาสนา และพระพุทธรูปมาเป็นเครื่องบรรณาการ คนทิเบตจึงได้รู้จักพระพุทธศาสนาเป็น ครั้งแรกแต่ก็ยังไม่เป็นที่แพร่หลายเพราะชาวทิเบตยังมีความเชื่อเรื่องภูตผีปีศาจอยู่มากในราวพุทธศตวรรษ พระเจ้าถังไท่จง (กษัตริย์จีน)และซึ่ว(กษัตริย์เนปาล) ต่างพระราชทานพระธิดาให้เป็นพระมเหสีเพื่อผูกสัมพันธไมตรีพระองค์ทรงสนับสนุนให้มี การศึกษาพระพุทธศาสนาจากคัมภีร์ที่นำ เข้ามาตั้งแต่ พ.ศ. 976 และประกาศให้พระพุทธศาสนา เป็นศาสนา ประจำ ชาติโดยการสนับสนุนของพระมเหสี2 พระองค์ที่ทรงนับถือพระพุทธศาสนามหายาน ในสมัยนี้มี พระเจ้าซรอนซันกัมโปได้ทรงส่งสมณทูตชื่อทอนมีสัมโภตะ ไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยนาลันทา เมื่อกลับมาทิเบตท่านได้เริ่มงานประดิษฐ์อักษร และเผยแผ่พระพุทธศาสนาทำ ให้ประชาชนเลื่อมใสพระพุทธศาสนามากขึ้น ใน พ.ศ.1298-1340กษัตริย์องค์ที่5นับจากพระเจ้าซรอนซันกัมโปได้อาราธนาพระศานตรักษิต ที่เคยศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยนาลันทามาเผยแผ่หลักคำสอนอันบริสุทธิ์แต่ก็ไม่ประสบความสำ เร็จเนื่องจากกลับไปอาราธนาพระปัทมสัมภวะ (พระราชโอรสของพระเจ้าอินทรภูมิแห่งแคว้นอุทยานซึ่งปัจจุบันอยู่ใน ประเทศอัฟกานิสถาน) ให้ไปเผยแผ่พุทธศาสนาลัทธิตันตระ ซึ่งเน้นเวทมนตร์และคาถาอาคม ทำ ให้ถูกกับ อัธยาศัยของชาวทิเบต ในขณะนั้นชาวทิเบตนับถือพระปัทมสัมภวะว่าเป็น คุรุรินโปเช (พระอาจารย์ใหญ่) ท่านได้สร้างวัดในพระพุทธศาสนาแห่งแรกของทิเบตชื่อวัดสัมเย พระพุทธศาสนาลัทธิตันตระเจริญรุ่งเรืองเรื่อย มาจนถึงรัชสมัยพระเจ้าลางทรมาที่ทรงถือลัทธิภูตผีครองราชย์ได้ทำลายวัดวาอารามที่สำคัญ และให้พระสงฆ์ ลาสิกขาต่อมาพระองค์ถูกลอบปลงพระชนม์ ใน พ.ศ. 1600 ถือว่าเป็นยุคที่พระพุทธศาสนาจากอินเดียประดิษฐานมั่นคงในทิเบต มีนิกาย แตกแยกออกไปมาก โดยมีพระทีปังกรศรีชญาณ จากแคว้นพิหาร เข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนาในทิเบต คำสอนของท่านเป็นแบบโยคาจารที่ผสมผสานกันระหว่างมหายานและหีนยานบังคับให้พระสงฆ์ถือพรหมจรรย์ และไม่สนับสนุนไสยศาสตร์ในปลายยุคนี้ท่านสองขะปะ (พ.ศ. 1918) นักปฏิรูปผู้ยิ่งใหญ่ของทิเบต ได้อาศัย จากลัทธิพีธีต่าง ๆ มีการรวบรวมคัมภีร์ที่ได้แปลแล้วเรียกว่า พระไตรปิฎก

การนับถือศาสนาในประเทศทิเบต

ทิเบตในอดีตมีความรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนามาก พระพุทธศาสนาแบบทิเบตมีเอกลักษณ์เฉพาะ คือเป็นการผสมผสานระหว่างพระพุทธศาสนานิกายมหายานทั้งจากอินเดียและจีน ชาวทิเบตเป็นผู้ใฝ่ธรรมะ และนิยมเดินทางไปแสวงบุญในที่ต่างๆเมื่อตกอยู่ในการปกครองของจีนวัดนับพันแห่งทั่งนครลาซา เหลือ ไม่ถึงหนึ่งร้อยแห่ง จนแทบไม่หลงเหลือความเจริญรุ่งเรืองในอดีต พ ิธีกรรมทางพระพุทธศาสนามีความสำาคัญต่อชาวทิเบตมากซึ่งพบเห็นได้ในแทบทุกที่ของ ประเทศทิเบตตลอดทั้งวันฆราวาสก็จะถวายอาหารดอกไม้ธูปเทียน หรือเงินแก่คณะสงฆ์เพื่อทำานุบำารุง ศาสนสถานชาวทิเบตจะสวดมนต์เบาๆขณะก้าวเดินไปพร้อมกับนับลูกประคำาไปด้วย ในทิเบตมีพิธีเฉลิมฉลองมากมายที่เกี่ยวข้องกับเรื่องราวของพระพุทธเจ้าและพระสงฆ์อันเป็นที่ เคารพยิ่งของชาวทิเบตและทุกวันพุทธชาวทิเบตเชื่อกันว่าเป็นวันมงคลที่ต้องประกอบพิธ


โรงเรียนหนองไผ่
700 หมู่ 6 ต.หนองไผ่
อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์
ผู้จัดทำ
1.ด.ญ.เบญญทิพท์ เหลื่อมใส ม.3/4 เลขที่22
2.ด.ญ.ชาริณี ลายน้ำเงิน ม.3/4 เลขที่28

3.ด.ญ.รุ่งระวี จันทร์แจ่ม ม.3/4 เลขที่29
4.ด.ญ.ศิริพร อินประเสริฐ ม.3/4 เลขที่39