การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น

พุทธศาสนาเริ่มรุ่งเรืองในญี่ปุ่น

พระพุทธศาสนาได้เจริญขึ้นในประเทศญี่ปุ่น ในสมัยจักรพรรดิคินเมเป็นอย่างมากแต่ที่ปรึกษาฝ่ายทหารและฝ่ายชินโตในยุคนั้นไม่เห็นด้วยกับองค์จักรพรรดิคินเม ฝ่ายไม่เห็นชอบพยายามขัดขวางการเผยแพร่ศาสตร์ทางพุทธเป็นสาเหตุสำคัญที่พุทธศาสนาไม่เผยแผ่กว้างขวางไปในทุกหมู่ชนชั้น และภายหลังที่พระองค์สิ้นพระชนม์แล้วจักรพรรดิองค์ต่อ ๆ มาก็มิได้ใส่พระทัยในพระพุทธศาสนาปล่อยให้พระพุทธศาสนาเสื่อมโทรมลง


ความเสื่อมและย่างก้าวของพุทธศาสตร์ในญี่ปุ่น

ในสมัยที่ได้มีการติดต่อทางวัฒนธรรมนำเอาพระคัมภีร์ทางพุทธศาสนาและอรรถกถาต่าง ๆ เข้าสู่ประเทศญี่ปุ่น เจ้าชายโชโตกุสิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 1165 บรรดาประชาชนทั้งปวงมีความเศร้าโศกเป็นอันมาก จึงได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปขนาดเท่าพระองค์ขึ้น 1 องค์ องค์ประดิษฐานไว้เป็นอนุสรณ์ที่วัดโฮริว หลังจากนั้นมาพระพุทธศาสนาก็ถูกแบ่งออกเป็นหลายนิกาย เป็นการคล้ายกับว่าพระพุทธศาสนาได้ถูกหยุดชะงักเพราะนโยบายการปกครองประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคของการเปลี่ยนผู้นำ ด้วยพระนักบวชเป็นที่เคารพอย่างสูงจากทั้งชาวบ้านขุนนางโดยไม่เว้นแม้แต่ระดับผู้นำอย่างราชวงศ์จักรพรรติและโชกุน


แต่ภาระหน้าที่ของพระสงฆ์นักบวชแต่โบราณกาลนอกจากเทศน์แก่สาธุชนช่วยเหลือผู้พอเหมาะสมพอควรอันอยู่ในทางที่พอช่วยได้แล้ว เดิมยังได้มีบทบาทในทางสังคมเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณ


โรงเรียนหนองไผ่
700 หมู่ 6 ต.หนองไผ่
อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์
ผู้จัดทำ
1.ด.ช.พงษ์ศักดิ์ เรียงความดี เลขที่.15
2.ด.ญ.สิริยากร ศิริทรัพย์ เลขที่.21
3.ด.ญ.ณัฐวิกา ดิลกชาติ เลขที่.23
4.ด.ญ.ทรรศนีย์ มีแฟง เลขที่.24
5.ด.ญ.วรรณวิสา รักพันธิ์ เลขที่.27
6.ด.ญ.สุวิมล มังกร เลขที่.28
7.ด.ญ.สุภาพร บุญมี เลขที่.29
8.ด.ญ.รัตนากร ทัศนัย เลขที่.33
9.ด.ญ.วรรณนิสา เรืองสมบัติ เลขที่.35
10.ด.ญ.กวทรา ขวากุพันธ์ เลขที่.36
11.ด.ญ.สุธิดา แจ่มจำรัส เลขที่.41