รายการหลัก

การเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปยังเยอรมนี

ชาวเยอรมันความสนใจในพระพุทธศาสนามาตั้งแต่สมัยก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๒ แต่มีจำนวนไม่มากนัก โดยชาวพุทธกลุ่มแรกในเยอรมนี นำโดย ดร.คาร์ล ไซเดนสตือเกอร์ (Dr.Karl Seidenstuecker) ได้ก่อตั้งสมาคมเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเยอรมนี ขึ้นที่เมืองเลปซิก เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๖ เพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศเยอรมนีและส่งเสริมการศึกษาทางวิชาพระพุทธศาสนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเยอรมันตะวันตกดำเนินการโดยเอกชน มีการจัดพิมพ์วารสารและจุลสารออกเผยแพร่ นอกจากนี้ก็มีการจัดปาฐกถาธรรมและสนทนาธรรมเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาเป็นประจำ หนังสือเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาที่มีชื่อเสียงมากที่สุด ได้รับการตีพิมพ์เผยแผ่ถึง ๖ ชั่วอายุคน คือ หนังสือพุทธวจนะ ซึ่งเป็นหนังสือที่แปลและเรียบเรียงจากภาษาบาลีเป็นภาษาเยอรมัน โดยพระภิกษุชาวเยอรมันรูปแรก ฉายาว่า ท่านญาณดิลก หนังสือเล่มนี้ได้รับได้รับการตีพิมพ์ซ้ำอย่างมากมาย และถ่ายทอดเป็นภาษาอื่นๆ กว่า ๑๐ ภาษารวมทั้งภาษาไทยด้วย


โรงเรียนหนองไผ่
700 หมู่ 6 ต.หนองไผ่
อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์
ผู้จัดทำ
1.เด็กหญิงนันทวิมล เศษโถ เลขที่19 ม.3/9
2.เด็กหญิงปณิดา ศรราช เลขที่20
3.เด็กหญิงวิลัยพร สวัสดิ์นะที เลขที่22
4.เด็กหญิงเกตุวดี เขียนแก้ว เลขที่23
5.เด็กหญิงศิริพร อ่อนศรี เลขที่่24
6.เด็กหญิงสุภาลักษณ์ มุ้ยแก้ว เลขที่25
7.เด็กหญิงชลธิชา แก้วจีน เลขที่26
8.เด็กหญิงเนตรประภา บำเพ็ญเชาวน์ เลขที่27
9.เด็กหญิงพิชชาพร คะโมระวงศ์ เลขที่28
10.เด็กหญิงอริสรา อุดมทรัพย์ เลขที่29

11.เด็กหญิงจันทรวิมล จันทร์ขำ เลขที่30
12.เด็กหญิงอรวรรณ แสงมณี เลขที่31
13.เด็กหญิงจริยาภรณ์ ทาจู เลขที่32
14.เด็กหญิงชลธิชา กันนิล เลขที่33
15.เด็กหญิงพัชรินทร์ คำพรรณ์ เลขที่34
16.เด็กหญิงพัชราภรณ์ ถือนูศร เลขที่35
17.เด็กหญิงกัลยากร สิงห์บุญ เลขที่36
18.เด็กหญิงสุกัญญา อินทร์ตา เลขที่37
19.เด็กหญิงสลิลทิพย์ พูลแสนรักษ์ เลขที่38