พระพุทธศาสนาในประเทศออสเตรีย

พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศออสเตรเลียตั้งแต่พ.ศ 2453 โดยพระภิกษุชาวอังกฤษ ชื่อ พระสาส์นธชะ(มร.อี.สตีเวนสัน) ซึ่งอุปสมบทที่ประเทศเมียนมา ได้เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่ชาวออสเตรเลีย ในพศ 2496 รัฐควีนส์แลนด์ นิวเซาท์เวลส์ และวิกตอเรีย ได้จัดตั้งพุทธสมาคมขึ้น เพื่อเผยแผ่หลักธรรมโดยจัดพิมพ์วารสาร เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาออกเผยแพร่ และในพ.ศ 2498 มีการจัดตั้งพุทธสมาคมแห่งรัฐแทสเมเนียขึ้น พ.ศ. 2497-พ.ศ. 2499 พระเถระชาวพม่าชื่อ อูฐิติละ ได้เผยแผ่ พระพุทธศาสนาที่ประเทศออสเตรเลีย มีผู้สนใจฟังการบรรยายธรรมเป็นอันมาก ได้อบรมกรรมฐานแก่ชาวออสเตรเลียด้วย ต่อมาพุทธสมาคมต่างๆได้ร่วมกันจัดตั้งสหพันธ์พระพุทธศาสนาขึ้น มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงแคนเบอร์รา เป็นสถานที่แสดงปาฐกถากรรม สัมนาทางวิชาการ และเป็นศูนย์รวมในการประกอบศาสนกิจตามประเพณีของพระพุทธศาสนาทำให้มีผู้มานับถือพระพุทธศาสนามากขึ้น

การนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศออสเตเรีย

เนื่องจากเกาหลีเหนือปกครองด้วยลัทธิคอมมิวนิสต์ ซึ่งไม่สนับสนุนพระพระพุทธศาสนา ดังนั้นพระพุทธศาสนาจึงเจริญรุ่งเรืองในเกาหลีใต้มากกว่า ในปัจจุบันคณะสงฆ์ในประเทศเกาหลีถือว่าเป็นคณะสงฆ์ที่มีความก้าวหน้ามากในการปรับตัวให้ทันกับเหตุการณ์ต่างๆ เพื่อความมั่นคงของพระพุทธศาสนา กิจกรรมที่พระสงฆ์เกาหลีใต้ทำกันอย่างเข้มแข็งคือ การศึกษา นอกจากจะมีโรงเรียนพระปริยัติธรรมสำหรับสอนพระภิกษุแล้วยังมีสถานศึกษาฝ่ายสามัญระดับต่างๆ โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของคณะกรรมาธิการฝ่ายการศึกษาของคณะสงฆ์ มีมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดคือ มหาวิทยาลัยดองกุกตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2449 และมีศูนย์แปลพระไตรปิฎกเกาหลี ตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยนี้อีกด้วย



โรงเรียนหนองไผ่
700 หมู่ 6 ต.หนองไผ่
อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์
ผู้จัดทำ
1.เด้กชายสุรศักดิ์ เบ้าเหมือน ม.3/2 เลขที่ 10
2.เด็กชายวรากร บุตรตะ ม.3/2 เลขที่ 16
3.เด็กชายอนุเทพ มาเเพ ม.3/2 เลขที่ 17
4.เด็กหญิงกันติชา จำศรี ม.3/2 เลขที่ 18
5.เด็กหญิงยุวดี วงศ์อาษาม.3/2 เลขที่ 22
6.เด็กหญิงสุธิภรณ์ พลหาร ม.3/2 เลขที่ 24
7.เด็กหญิงชนัญธิดา จันทร์บำรุงม.3/2 เลขที่ 26
8.เด็กหญิงอรัญญา ประจันทร์ ม.3/2 เลขที่ 28
9.เด็กหญิงพรชนัดดา ยอดวงค์ ม.3/2 เลขที่ 37
10.เด็กหญิงปทิตตา พลหาร ม.3/2 เลขที่ 38